วันศุกร์ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
วันอังคารที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
วันพฤหัสบดีที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2558
oat
ก่อนสิ้นภาคการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา และ/หรือเจ้าหน้าที่ของสถานศึกษาที่รับผิดชอบการดำเนินงานกองทุนมีหน้าที่ต้องส่งข้อมูลเกี่ยวกับยอดเงินค่าเล่าเรียน และ/หรือค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษาที่สถานศึกษาได้รับจริงจากผู้กู้ยืมเงินแต่ละรายซึ่งเป็นข้อมูลหลังจากเสร็จสิ้นการเพิ่ม-ถอนรายวิชาแล้วผ่านระบบ e-Audit ของกองทุนเพื่อตรวจสอบหากไม่สามารถปฏิบัติได้โดยไม่มีเหตุอันควร กองทุนจะพิจารณาระงับการโอนเงินให้แก่สถานศึกษาสำหรับภาคการศึกษาถัดไปก็ได้
ผู้บริหารสถานศึกษา และ/หรือเจ้าหน้าที่ของสถานศึกษาที่รับผิดชอบการดำเนินงานกองทุนต้องส่งคืนเงินกู้ยืมของผู้กู้ยืมเงินที่มิได้ใช้ตามที่กำหนดไว้ในสัญญากู้ยืมให้แก่กองทุนก่อนสิ้นภาคการศึกษาแต่ละภาคของสถานศึกษานั้น หากมิได้ส่งคืนเงินภายในกำหนดระยะเวลาดังกล่าว กองทุนมีสิทธิคิดดอกเบี้ยในอัตราไม่เกินร้อยละ 15 ต่อปี นับแต่วันผิดนัด”
ค่าธรรมเนียมของการส่งคืนเงินกู้ยืมของผู้กู้ยืมเงินที่มิได้ใช้ตามที่กำหนดในสัญญากู้ยืมเงิน
ผู้บริหารสถานศึกษา และ/หรือเจ้าหน้าที่ของสถานศึกษาที่รับผิดชอบการดำเนินงานกองทุนต้องส่งคืนเงินกู้ยืมของผู้กู้ยืมเงินที่มิได้ใช้ตามที่กำหนดไว้ในสัญญากู้ยืมให้แก่กองทุนก่อนสิ้นภาคการศึกษาแต่ละภาคของสถานศึกษานั้น หากมิได้ส่งคืนเงินภายในกำหนดระยะเวลาดังกล่าว กองทุนมีสิทธิคิดดอกเบี้ยในอัตราไม่เกินร้อยละ 15 ต่อปี นับแต่วันผิดนัด”
ค่าธรรมเนียมของการส่งคืนเงินกู้ยืมของผู้กู้ยืมเงินที่มิได้ใช้ตามที่กำหนดในสัญญากู้ยืมเงิน
สถานศึกษาไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียม เนื่องจากการคืนเงินกองทุนดังกล่าว ผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืมจะต้องนำยอดเงินของผู้กู้ยืมเงินแต่ละรายไปลดยอดหนี้รายบุคคล เปรียบเสมือนการชำระหนี้ก่อนกำหนด ดังนั้น ผู้กู้ยืมจึงต้องเป็นผู้รับภาระดังกล่าว โดยธนาคารจะหักจากยอดเงินของผู้กู้ยืมเงินที่ส่งคืนเงินกองทุนรายการละ 10 บาท
กรณียอดเงินส่วนที่ส่งคืนกองทุนของผู้กู้ยืมเงินน้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 บาท จะได้รับการยกเว้นค่าธรรมเนียม
oat
การจ่ายเงินกู้ยืม
1. ค่าครองชีพ
กองทุนจะจ่ายเข้าบัญชีของผู้กู้ยืมเงินครั้งแรก ภายใน 3 วัน นับแต่วันที่กองทุนส่งข้อมูลการยืนยันสัญญาฯ และแบบลงทะเบียนเรียน/แบบยืนยันค่าเล่าเรียน ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา และค่าครองชีพของสถานศึกษาจากระบบ e-Studentloan ให้กับผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืม และจะจ่ายเงินค่าครองชีพให้ผู้กู้ยืมเงินทุกเดือน ในวันที่เคยจ่ายเงินให้ผู้กู้ยืมครั้งแรก
2. ค่าเล่าเรียนและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา
กองทุนจะจ่ายเข้าบัญชีของสถานศึกษาหลังจากผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืมตรวจสอบสัญญา/แบบลงทะเบียนเรียน/แบบยืนยันค่าเล่าเรียน ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา และค่าครองชีพว่าถูกต้องและครบถ้วนตรงกับข้อมูลที่ผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืม
ได้รับจากระบบ e-Studentloan โดยจะโอนทุกวันที่ 10 และ 20 ของเดือน
กรณีสัญญา/แบบลงทะเบียนเรียน/แบบยืนยันค่าเล่าเรียน ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา และค่าครองชีพไม่ถูกต้อง ผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืมจะแจ้งให้สถานศึกษาทราบโดยทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Auto mail) เพื่อให้สถานศึกษาแก้ไขให้ถูกต้อง เมื่อแก้ไขเสร็จสิ้นแล้วให้สถานศึกษาจัดทำใบนำส่งเอกสารเพิ่มเติมจากระบบ e-Studentloan แนบมาพร้อมกับเอกสารที่แก้ไขแล้วส่งให้ผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืมดำเนินการต่อไป
ผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืมจะจัดส่งรายงานการโอนเงินค่าเล่าเรียนและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษาให้กับสถานศึกษาทาง Auto mail ตามจำนวนครั้งที่โอนเงิน หากไม่ได้รับ Auto mail ให้สถานศึกษาติดต่อกับผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืม
กองทุนจะจ่ายเข้าบัญชีของผู้กู้ยืมเงินครั้งแรก ภายใน 3 วัน นับแต่วันที่กองทุนส่งข้อมูลการยืนยันสัญญาฯ และแบบลงทะเบียนเรียน/แบบยืนยันค่าเล่าเรียน ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา และค่าครองชีพของสถานศึกษาจากระบบ e-Studentloan ให้กับผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืม และจะจ่ายเงินค่าครองชีพให้ผู้กู้ยืมเงินทุกเดือน ในวันที่เคยจ่ายเงินให้ผู้กู้ยืมครั้งแรก
2. ค่าเล่าเรียนและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา
กองทุนจะจ่ายเข้าบัญชีของสถานศึกษาหลังจากผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืมตรวจสอบสัญญา/แบบลงทะเบียนเรียน/แบบยืนยันค่าเล่าเรียน ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา และค่าครองชีพว่าถูกต้องและครบถ้วนตรงกับข้อมูลที่ผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืม
ได้รับจากระบบ e-Studentloan โดยจะโอนทุกวันที่ 10 และ 20 ของเดือน
กรณีสัญญา/แบบลงทะเบียนเรียน/แบบยืนยันค่าเล่าเรียน ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา และค่าครองชีพไม่ถูกต้อง ผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืมจะแจ้งให้สถานศึกษาทราบโดยทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Auto mail) เพื่อให้สถานศึกษาแก้ไขให้ถูกต้อง เมื่อแก้ไขเสร็จสิ้นแล้วให้สถานศึกษาจัดทำใบนำส่งเอกสารเพิ่มเติมจากระบบ e-Studentloan แนบมาพร้อมกับเอกสารที่แก้ไขแล้วส่งให้ผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืมดำเนินการต่อไป
ผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืมจะจัดส่งรายงานการโอนเงินค่าเล่าเรียนและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษาให้กับสถานศึกษาทาง Auto mail ตามจำนวนครั้งที่โอนเงิน หากไม่ได้รับ Auto mail ให้สถานศึกษาติดต่อกับผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืม
กรณีผู้กู้ยืมเงิน/สถานศึกษาไม่ได้รับเงิน
ให้สถานศึกษาติดต่อกับผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืม
ให้สถานศึกษาติดต่อกับผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืม
oat
การค้ำประกัน
ผู้ค้ำประกันต้องเป็นผู้บรรลุนิติภาวะ ดังนี้
1. บิดา มารดา หรือผู้ใช้อำนาจปกครอง หรือคู่สมรส หรือ
2. บุคคลที่ประกอบอาชีพมีรายได้น่าเชื่อถือตามที่คณะกรรมการพิจารณาให้กู้ยืมประจำสถานศึกษากำหนดให้เป็นผู้ค้ำประกันได้
แนวปฏิบัติเรื่องการค้ำประกัน
1. กรณีที่นักเรียน/นักศึกษา ไม่มีบิดา มารดา ให้ผู้ใช้อำนาจปกครองเป็นผู้ให้การยินยอมในการทำนิติกรรมสัญญาและเป็นผู้ค้ำประกัน “ผู้ปกครอง” ได้แก่ ผู้ปกครองตามประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 132 กฎกระทรวง ระเบียบที่ออกตามกฎหมายดังกล่าว รวมทั้งประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องผู้ปกครอง นักเรียน/นักศึกษา ซึ่งหมายถึง บุคคลซึ่งรับนักเรียน/นักศึกษาไว้ในความปกครอง หรืออุปการะเลี้ยงดู หรือบุคคลที่นักเรียน/นักศึกษาอาศัยอยู่
2. กรณีคู่สมรสของผู้ค้ำประกันไม่ยินยอมลงนามให้ความยินยอมค้ำประกัน ให้ผู้ค้ำประกันลงนามฝ่ายเดียวได้
3. กรณีคู่สมรสของผู้ค้ำประกันมอบอำนาจให้ผู้ค้ำประกันลงลายมือชื่อฝ่ายเดียวแทน ให้ผู้ค้ำประกันลงนามฝ่ายเดียวได้
4. ผู้ค้ำประกันไม่สามารถเพิกถอนการค้ำประกันได้ ในระหว่างเวลาที่ผู้กู้ยืมเงิน ต้องรับผิดชอบอยู่ตามเงื่อนไขในสัญญากู้ยืมเงิน
5. ในการทำสัญญากู้ยืมเงินแต่ละครั้ง ผู้กู้ยืมเงินอาจเปลี่ยนแปลงผู้ค้ำประกันใหม่ได้ โดยไม่จำเป็นต้องใช้ผู้ค้ำประกันคนเดิม
แนวปฏิบัติเรื่องการเปลี่ยนแปลงข้อมูลผู้ค้ำประกัน
1. กรณีที่ผู้กู้ยืมได้บันทึกรายละเอียดผู้ค้ำประกัน(ขั้นตอนที่ 4 ในระบบ e-Studentloan) แต่ยังมิได้มีการทำสัญญาหากผู้กู้ยืมประสงค์จะเปลี่ยนแปลงแก้ไขผู้ค้ำประกัน เพราะผู้ค้ำประกันคนเดิมไม่ได้ มีสัญชาติไทยก็ดี หรือเพราะด้วยเหตุผลใดๆ ก็ดี กรณีนี้กองทุน เห็นว่า ควรอนุญาตให้ผู้กู้ยืมเปลี่ยนแปลงแก้ไขผู้ค้ำประกันในระบบ e-Studentloan ได้
2. กรณีที่ผู้กู้ยืมได้มีการทำสัญญาแล้วแต่อยู่ในขั้นตอนสถานศึกษาตรวจสัญญา (ขั้นตอนที่ 5 ในระบบ e-Studentloan) และผู้บริหารสถานศึกษายังมิได้ลงนามในฐานะผู้ให้กู้ยืม หากผู้กู้ยืมประสงค์จะเปลี่ยนแปลงแก้ไขผู้ค้ำประกัน เพราะผู้ค้ำประกันคนเดิมไม่ได้มีสัญชาติไทยก็ดี หรือเพราะด้วยเหตุผลใดๆ ก็ดี กรณีนี้กองทุน เห็นว่า ควรอนุญาตให้ผู้กู้ยืมเปลี่ยนแปลงแก้ไขผู้ค้ำประกัน โดยการทำสัญญาฉบับใหม่ หรือใช้วิธีขีดฆ่าชื่อผู้ค้ำประกันเดิม และระบุชื่อผู้ค้ำประกันคนใหม่แล้วลงนามกำกับ และให้ผู้ค้ำประกันคนใหม่ลงชื่อในฐานะผู้ค้ำประกันด้วย
3. กรณีที่ผู้กู้ยืม ผู้ค้ำประกัน และผู้ให้กู้ยืม(ผู้บริหารสถานศึกษา) ได้ลงนามในสัญญาค้ำประกันแล้ว หากผู้กู้ยืมประสงค์จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงผู้ค้ำประกันเพราะผู้ค้ำประกันคนเดิมไม่ได้มีสัญชาติไทย เพราะด้วยเหตุผลใดๆ ก็ดี กรณีนี้กองทุน ขอให้สถานศึกษาดำเนินการจัดทำบันทึกข้อตกลงแนบท้ายสัญญา เพื่อให้ผู้กู้ยืม ผู้ค้ำประกันคนใหม่ และผู้บริหารสถานศึกษาในฐานะผู้ให้กู้ยืม ลงนามในบันทึกข้อตกลง แล้วส่งบันทึกข้อตกลงดังกล่าวให้ธนาคาร
4. กรณีที่ผู้กู้ยืมเงินได้รับโอนเงินค่าเล่าเรียนแล้วไม่สามารถขอเปลี่ยนแปลงข้อมูลการค้ำประกันได้
1. บิดา มารดา หรือผู้ใช้อำนาจปกครอง หรือคู่สมรส หรือ
2. บุคคลที่ประกอบอาชีพมีรายได้น่าเชื่อถือตามที่คณะกรรมการพิจารณาให้กู้ยืมประจำสถานศึกษากำหนดให้เป็นผู้ค้ำประกันได้
แนวปฏิบัติเรื่องการค้ำประกัน
1. กรณีที่นักเรียน/นักศึกษา ไม่มีบิดา มารดา ให้ผู้ใช้อำนาจปกครองเป็นผู้ให้การยินยอมในการทำนิติกรรมสัญญาและเป็นผู้ค้ำประกัน “ผู้ปกครอง” ได้แก่ ผู้ปกครองตามประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 132 กฎกระทรวง ระเบียบที่ออกตามกฎหมายดังกล่าว รวมทั้งประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องผู้ปกครอง นักเรียน/นักศึกษา ซึ่งหมายถึง บุคคลซึ่งรับนักเรียน/นักศึกษาไว้ในความปกครอง หรืออุปการะเลี้ยงดู หรือบุคคลที่นักเรียน/นักศึกษาอาศัยอยู่
2. กรณีคู่สมรสของผู้ค้ำประกันไม่ยินยอมลงนามให้ความยินยอมค้ำประกัน ให้ผู้ค้ำประกันลงนามฝ่ายเดียวได้
3. กรณีคู่สมรสของผู้ค้ำประกันมอบอำนาจให้ผู้ค้ำประกันลงลายมือชื่อฝ่ายเดียวแทน ให้ผู้ค้ำประกันลงนามฝ่ายเดียวได้
4. ผู้ค้ำประกันไม่สามารถเพิกถอนการค้ำประกันได้ ในระหว่างเวลาที่ผู้กู้ยืมเงิน ต้องรับผิดชอบอยู่ตามเงื่อนไขในสัญญากู้ยืมเงิน
5. ในการทำสัญญากู้ยืมเงินแต่ละครั้ง ผู้กู้ยืมเงินอาจเปลี่ยนแปลงผู้ค้ำประกันใหม่ได้ โดยไม่จำเป็นต้องใช้ผู้ค้ำประกันคนเดิม
แนวปฏิบัติเรื่องการเปลี่ยนแปลงข้อมูลผู้ค้ำประกัน
1. กรณีที่ผู้กู้ยืมได้บันทึกรายละเอียดผู้ค้ำประกัน(ขั้นตอนที่ 4 ในระบบ e-Studentloan) แต่ยังมิได้มีการทำสัญญาหากผู้กู้ยืมประสงค์จะเปลี่ยนแปลงแก้ไขผู้ค้ำประกัน เพราะผู้ค้ำประกันคนเดิมไม่ได้ มีสัญชาติไทยก็ดี หรือเพราะด้วยเหตุผลใดๆ ก็ดี กรณีนี้กองทุน เห็นว่า ควรอนุญาตให้ผู้กู้ยืมเปลี่ยนแปลงแก้ไขผู้ค้ำประกันในระบบ e-Studentloan ได้
2. กรณีที่ผู้กู้ยืมได้มีการทำสัญญาแล้วแต่อยู่ในขั้นตอนสถานศึกษาตรวจสัญญา (ขั้นตอนที่ 5 ในระบบ e-Studentloan) และผู้บริหารสถานศึกษายังมิได้ลงนามในฐานะผู้ให้กู้ยืม หากผู้กู้ยืมประสงค์จะเปลี่ยนแปลงแก้ไขผู้ค้ำประกัน เพราะผู้ค้ำประกันคนเดิมไม่ได้มีสัญชาติไทยก็ดี หรือเพราะด้วยเหตุผลใดๆ ก็ดี กรณีนี้กองทุน เห็นว่า ควรอนุญาตให้ผู้กู้ยืมเปลี่ยนแปลงแก้ไขผู้ค้ำประกัน โดยการทำสัญญาฉบับใหม่ หรือใช้วิธีขีดฆ่าชื่อผู้ค้ำประกันเดิม และระบุชื่อผู้ค้ำประกันคนใหม่แล้วลงนามกำกับ และให้ผู้ค้ำประกันคนใหม่ลงชื่อในฐานะผู้ค้ำประกันด้วย
3. กรณีที่ผู้กู้ยืม ผู้ค้ำประกัน และผู้ให้กู้ยืม(ผู้บริหารสถานศึกษา) ได้ลงนามในสัญญาค้ำประกันแล้ว หากผู้กู้ยืมประสงค์จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงผู้ค้ำประกันเพราะผู้ค้ำประกันคนเดิมไม่ได้มีสัญชาติไทย เพราะด้วยเหตุผลใดๆ ก็ดี กรณีนี้กองทุน ขอให้สถานศึกษาดำเนินการจัดทำบันทึกข้อตกลงแนบท้ายสัญญา เพื่อให้ผู้กู้ยืม ผู้ค้ำประกันคนใหม่ และผู้บริหารสถานศึกษาในฐานะผู้ให้กู้ยืม ลงนามในบันทึกข้อตกลง แล้วส่งบันทึกข้อตกลงดังกล่าวให้ธนาคาร
4. กรณีที่ผู้กู้ยืมเงินได้รับโอนเงินค่าเล่าเรียนแล้วไม่สามารถขอเปลี่ยนแปลงข้อมูลการค้ำประกันได้
oat
การยกเลิกสัญญา และ/หรือแบบยืนยันการลงทะเบียน
ในกรณีที่ผู้กู้ยืมเงินมีความต้องการยกเลิก แก้ไข/เปลี่ยนแปลงสัญญากู้ยืมเงิน และ/หรือแบบยืนยันการลงทะเบียนเรียนที่ได้ทำการส่งข้อมูลให้ผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืม(บมจ.ธนาคารกรุงไทย/ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย) แล้ว ให้ผู้กู้ยืมติดต่อสถานศึกษา เพื่อให้สถานศึกษาดำเนินการ ดังนี้
1. ทำการยกเลิกสัญญากู้ยืมเงิน และ/หรือแบบยืนยันการลงทะเบียนเรียน ในระบบ e-Studentloan ตามที่กองทุนกำหนด และพิมพ์แบบฟอร์มยกเลิกสัญญากู้ยืมเงิน และ/หรือแบบยืนยันการลงทะเบียนเรียนพร้อมทั้งแบบฟอร์มคืนเงิน (ในกรณีที่มีการจ่ายเงินตามแบบยืนยันการลงทะเบียนเรียนนั้นแล้ว)
2. ส่งแบบฟอร์มยกเลิกสัญญากู้ยืมเงิน และ/หรือแบบยืนยันการลงทะเบียนเรียนให้ผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืม(บมจ.ธนาคารกรุงไทย/ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย) ทันทีที่ทำเสร็จ
3. นำแบบฟอร์มคืนเงินไปชำระเงินที่สาขาของผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืม(บมจ.ธนาคารกรุงไทย/ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย) แล้วส่งเอกสาร (แบบฟอร์มและใบนำฝากหรือ PAY IN SLIP) มายังฝ่ายบริหารโครงการภาครัฐ บมจ.ธนาคารกรุงไทย หรือฝ่ายนโยบายรัฐธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย
1. ทำการยกเลิกสัญญากู้ยืมเงิน และ/หรือแบบยืนยันการลงทะเบียนเรียน ในระบบ e-Studentloan ตามที่กองทุนกำหนด และพิมพ์แบบฟอร์มยกเลิกสัญญากู้ยืมเงิน และ/หรือแบบยืนยันการลงทะเบียนเรียนพร้อมทั้งแบบฟอร์มคืนเงิน (ในกรณีที่มีการจ่ายเงินตามแบบยืนยันการลงทะเบียนเรียนนั้นแล้ว)
2. ส่งแบบฟอร์มยกเลิกสัญญากู้ยืมเงิน และ/หรือแบบยืนยันการลงทะเบียนเรียนให้ผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืม(บมจ.ธนาคารกรุงไทย/ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย) ทันทีที่ทำเสร็จ
3. นำแบบฟอร์มคืนเงินไปชำระเงินที่สาขาของผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืม(บมจ.ธนาคารกรุงไทย/ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย) แล้วส่งเอกสาร (แบบฟอร์มและใบนำฝากหรือ PAY IN SLIP) มายังฝ่ายบริหารโครงการภาครัฐ บมจ.ธนาคารกรุงไทย หรือฝ่ายนโยบายรัฐธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย
► ดาวน์โหลด แนวปฏิบัติในการยกเลิกสัญญากู้ยืมเงิน
และ/หรือแบบยืนยันการลงทะเบียนเรียน
และ/หรือแบบยืนยันการลงทะเบียนเรียน
สมัครสมาชิก:
บทความ
(
Atom
)